Tải bản đầy đủ (.pdf) (21 trang)

Culture on spotted babylon (babylonia areolata

Bạn đang xem bản rút gọn của tài liệu. Xem và tải ngay bản đầy đủ của tài liệu tại đây (387.54 KB, 21 trang )

O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

การเลี้ยงหอยหวาน (Babylonia areolata Link, 1807) ในกระชังในบอดิน
ลือชัย ดรุณชู และ วิวรรธน สิงหทวีศักดิ์
ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงจันทบุรี 165 หมูที่ 9 ต. บางกะจะ อ. เมือง
จ. จันทบุรี ๒๒๐๐๐ โทร. ๐ ๓๙๔๕ ๗๙๘๗-๘
บทคัดยอ
การเลี้ยงหอยหวาน (Babylonia areolata Link, 1807) ในกระชังในบอดิน ที่ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝง
จันทบุรี ระหวางเดือนมกราคม 2547 ถึงเดือนพฤษภาคม 2547 เปนเวลา 16 สัปดาห โดยมีแพไมไผ ขนาด 8 x 8 เมตร
แขวนกระชัง ขนาด 1.20 x 1.20 x 0.5 เมตร จํานวน 12 ใบ ปลอยพันธุหอยหวานขนาดความยาวเฉลี่ย 1.60+0.20
เซนติเมตร ความกวางเฉลี่ย 1.09+0.13 เซนติเมตร และน้ําหนักเฉลี่ย 1.86 กรัม แบงการทดลองออกเปน 4 ความหนาแนน
คือ 300, 400, 500 และ 600 ตัวตอตารางเมตร โดยใหเนื้อปลาขางเหลืองเปนอาหาร เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบวา การ
เจริญเติบโตดาน ความยาวของเปลือกหอยเปน 3.13+0.07, 3.02+0.04, 2.99+0.04 และ2.77+0.08 เซนติเมตร ความกวาง
ของเปลือกหอยเปน 2.07+0.01, 2.03+0.05, 1.94+0.01 และ 1.85+0.01 เซนติเมตร และน้ําหนักของหอยเปน 7.81+0.38,
7.18+0.49, 6.45+0.33 และ 5.89+0.33 กรัม ตามลําดับ มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)โดยที่ความ
หนาแนน 300 ตัวตารางเมตร เจริญเติบโตดีที่สุด มีอัตราการแลกเนื้อเปน 2.82±0.20, 2.64±0.22, 2.78±0.19 และ 2.85±0.15
ซึ่งมีความแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (P>0.05) แตมีผลผลิตรวมเฉลี่ย 2.74+0.12, 3.49+0.18, 3.85+0.18 และ
4.33+0.14 กิโลกรัม ซึ่งมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ที่ความหนาแนน 600 ตัวตอตารางเมตรให
ผลผลิตสูงที่สุด สวนอัตราการรอดตายเปน 99.69+0.13, 99.71+0.20, 100 และ 99.92+0.07 เปอรเซ็นต มีความแตกตางกัน
อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (P>0.05). การเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอดินความหนาแนน 400 ตัวตอตารางเมตรให
ผลตอบแทนสูงที่สุด
คําสําคัญ :- หอยหวาน การเลี้ยง กระชัง บอดิน

216


การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

O19



Culture on Spotted Babylon (Babylonia areolata, Link 1807) by Floating Cages in Earthen Pond
Luechai Darunchu and Wiwat Singthaweesak
Chanthaburi Coastal Fisheries Research and Development Center
165 Moo 9 Bang Kha Cha, Muang District, Chanthaburi Province. 22000 Tel. 0 3945 7987-7
Abstract
The cultured of spotted babylon (Babylonia areolata Link 1807) by floating cages was done in earthen pond at
Chanthaburi Coastal Fisheries Research and Development Center during January 2004 to May 2004, for 16 weeks. The
rearing was held in 12 floating cages at size 1.20×1.20×0.5 meters were hanging on 8×8 meters size of bamboo raft. The
experiment consisted of 4 stocking densities, were 300 400 500 and 600 snails per square meter. The size of specimens
was average length about 1.60±0.20 centimeters, width about 1.09±0.13 centimeters and weight about 1.86 grams,
respectively. The growth on shell length of 4 treatments were 3.13±0.07, 3.02±0.04, 2.99±0.04 and 2.77±0.08
centimeters, shell width were 2.07±0.01, 2.03±0.05, 1.94±0.01 and 1.85±0.01 centimeters and body weight were
7.81±0.38, 7.18±0.49, 6.45±0.33 and 5.89±0.33 grams, and the revelation showed significantly difference (P<0.05), at
stocking density 300 snails per square meter gave the highest growth. The food conversation ratio were 2.82±0.20,
2.64±0.22, 2.78±0.19 and 2.85±0.15 and showed difference with non significance (P>0.05). But the total production
were 2.74±0.12, 3.49±0.18, 3.04±0.03 and 4.33±0.14 kilograms and showed difference with significance (P<0.05) and
stocking density 600 snails per square meter gave the highest total production, while the survival rate were 99.69±0.13,
99.71±0.20, 99.95±0.08 and 99.92±0.07 percentages and showed non-significantly difference (P>0.05). The cultured of
spotted Babylon at stocking density 400 snails per square meter was the highest benefit.
Key word :- Spotted Babylon Babylonia areolata Culture Floating Cages, Earthen Pond
คํานํา
หอยที่มีชื่อสามัญวาหอยหวาน หอยตุกแก หอยเทพรส หรือ Spotted Babylon จัดเปนหอยฝาเดียว ที่พบมากใน
ประเทศไทยมีอยู 2 ชนิด คือ Babylonia spirata ชนิดที่ทําการศึกษา มีชื่อวิทยาศาสตรวา Babylonia areolata Link 1807
เปนหอยที่พบมากในเขตรอน ตั้งแตไตหวันลงมา จนถึงอาวไทย หอยหวานมีการแพรกระจายตามจังหวัดชายฝงทะเล
บริ เ วณฝ ง อ า วไทย และฝ ง อั น ดามั น จั ง หวั ด ที่ มี ก ารจั บ กั น มาก คื อ ระยอง จั น ทบุ รี เพชรบุ รี ระนอง ป ต ตานี และ
นครศรีธรรมราช (นิพนธและลือชัย, 2543) เนื้อมีรสชาติดี มีผูนิยมบริโภคกันเปนจํานวนมาก ความตองการหอยหวานใน
ประเทศไทย นิยมบริโภคหอยขนาดใหญ 60-80 ตัวตอกิโลกรัม ในขณะที่ตางประเทศนิยมหอยขนาดเล็ก 80-130 ตัวตอ
กิโลกรัม (นิตยสารสัตวน้ํา, 2543) หอยหวานเปนหอยที่มีความตองการของตลาดทั้งภายในและตางประเทศ ในประเทศ
ไทยหอยหวานที่นํามาบริโภค สวนใหญเปนหอยที่จับมาจากแหลงน้ําธรรมชาติเกือบทั้งหมด (ลือชัยและเกียรติศักดิ์, 2547)

การเก็บเกี่ยวหอยหวานโดยการใชเครื่องมือประมงประเภทลอบดัก (Trap fishing gear) และเหยื่อที่นิยมใชไดแก
ปลา หรือ ปู ที่ตายแลว หรือนํามาดองเกลือ เพื่อใหมีกลิ่นดึงดูดหอยหวานใหเขามากินอาหารที่วางในลอบ หอยหวานที่จับ
ไดมีขนาดความยาวเปลือกเฉลี่ย 6.90 เซนติเมตร และน้ําหนักเฉลี่ย 46.7 กรัม โดยทั่วไปลอบหอยหวานมีปริมาณการจับที่
ไดผลผลิตคอนขางต่ํา และมีความผันแปรในแตละลอบ ในแตละวันสูงมาก (นิลนาจและอนุตร, 2541)

217


O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

ปจจุบันมีเกษตรกรสนใจหันมาทําการเลี้ยงหอยหวานกันมากขึ้น การเลี้ยงหอยหวานมีหลายรูปแบบ คือการเลี้ยง
ในบอคอนกรีต บอผาใบ เลี้ยงในคอกในทะเล เลี้ยงในกระชัง และเลี้ยงในบอดิน เปนตน การเลี้ยงหอยหวานในกระชังใน
บอดินเปนการเลี้ยงที่เหมาะสมตอสภาพแวดลอมชายฝงทะเล ที่น้ําทะเลมีความเค็มเปลี่ยนแปลงไมมากนัก ประมาณ 20-32
สวนในพัน เชนพื้นที่นากุงที่อยูริมฝงทะเล การเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอดิน จะแกปญหาเรื่องพื้นบอที่เปนดินโคลน
เชนพื้นที่เลี้ยงกุงทะเลบริเวณชายฝงทะเลที่เปนหาดโคลน แบบปากน้ําเวฬุ อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ทั้งนี้เนื่องจากหอย
หวานชอบพื้นดินที่เปนทราย หรือทรายปนโคลน การเลี้ยงในบอดินทําใหเก็บผลผลิตไดลําบาก และคัดขนาดยาก อัตรา
การรอดตายต่ํากวาการเลี้ยงในกระชัง
แนวความคิดในการเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอดิน เนื่องจากหอยหวานเปนสัตวที่ชอบอาศัยและฝงตัวในพื้น
ทราย ไมชอบอยูในดินโคลน เพราะในการกินอาหารของหอยหวานโดยการปลอยน้ํายอยออกมายอยอาหารแลวดูดกลับเขา
ไป มีการคลายเมือกออกมาติดอยูที่เทาหอยหวาน จึงจําเปนตองเดินไถบนพื้นทรายเพื่อใหเมือกหลุดออกไป ดังนั้นการเลี้ยง
หอยหวานในบอดินสวนใหญพื้นบอเปนดินโคลน ไมเหมาะกับนิสัยความเปนอยูของหอยหวาน อีกประการหนึ่งการเลี้ยง
ในบอดินมีพื้นที่กวางทําใหยากตอการจัดการ เชน การใหอาหาร การตรวจสอบการตายของหอย และการเก็บเกี่ยวผลผลิต
แตการเลี้ยงหอยในกระชังงายตอการจัดการ เชน งายตอการตรวจสอบปริมาณอาหาร การตายของหอย และมีความสะดวก
ในการเก็บเกี่ยวผลผลิตหอย
วัตถุประสงค
ศึกษาการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (FCR) และผลผลิตของหอยหวานที่
เลี้ยงในกระชังที่ระดับความหนาแนนตาง ๆ กัน ตลอดจนตนทุนในการเลี้ยงหอยหวาน
อุปกรณและวิธีดําเนินการ

1. การเตรียมแพและกระชัง
1.1 ทําแพไมไผขนาด กวาง x ยาว เทากับ 8 x 8 เมตร จํานวน 2 แพ ตรงกลางแบงครึ่งเพื่อใชเปนทางเดินและ
แขวนกระชัง แพลอยดวยถังพลาสติกขนาด 200 ลิตร ดานบนแพมีการกันแสงดวยสแลนพลาสติก ซึ่งลดแสงลงประมาณ
70 เปอรเซ็นต
1.2 กระชังสําหรับเลี้ยงหอยหวานมีขนาด กวาง x ยาว x สูง เทากับ 1.20 x 1.20 x 0.5 เมตร บุดวยอวนพลาสติก
ขนาดตา 0.5 เซนติเมตร จํานวน 12 ใบ และ บุดวยอวนพลาสติกขนาดตา 1.0 เซนติเมตร จํานวน 12 ใบ เพื่อใชสําหรับ
เปลี่ยนกระชัง หลังจากเลี้ยงหอยเปนเวลา 2 เดือน บริเวณดานลางของกระชัง บุดวยอวนมุงสีฟา ตาละเอียดขนาด 60 ชอง
ตอตารางเซนติเมตร ตรงบริเวณขอบดานลางยกสูงประมาณ 10 เซนติเมตร เพื่อใสทรายบริเวณกนกระชัง ในระยะการเลี้ยง
1-2 เดือน ใสทรายหยาบ และในระยะการเลี้ยง 3-4 เดือน จึงเปลี่ยนเปนกรวดเบอร 1 ซึ่งมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.3-0.5
เซนติเมตร โดยจะแขวนกระชังไวกับแพใหจมน้ําที่ระดับผิวน้ํา
2. การเตรียมลูกพันธุหอยหวาน
นําลูกหอยหวานจากโรงเพาะฟกของศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงจันทบุรี จํานวน 9,000 ตัว มาพักในบอ
ซีเมนตกลมขนาดเสนผาศูนยกลาง 1.0 เมตร จํานวน 12 ใบ เพื่อพักฟนใหลูกหอยมีความแข็งแรง และปรับตัวไดเปนเวลา 7
วัน จึงนําลูกหอยทั้งหมดมาคละกัน และสุมขึ้นมาวัดขนาด และชั่งน้ําหนัก จํานวน 200 ตัว หลังจากนั้นนําลูกหอยไปเลี้ยง
ตอไป ลูกหอยที่เริ่มทําการเลี้ยงมีขนาดความยาวอยูระหวาง 1.00-1.80 เซนติเมตร เฉลี่ย 1.60+0.20 เซนติเมตร ความกวาง
อยูระหวาง 0.82-1.39 เซนติเมตร เฉลี่ย 1.09+0.13 เซนติเมตร และน้ําหนักเฉลี่ย 1.86 กรัม

218


การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

O19

3. การวางแผนการทดลอง
ดําเนินการทดลอง โดยแบงการทดลองออกเปน 4 ชุดการทดลอง ชุดละ 3 ซ้ํา ดังนี้
ชุดการทดลองที่ 1 เลี้ยงที่อัตราความหนาแนน 300 ตัวตอตารางเมตร (ปลอยหอย 432 ตัวตอกระชัง)
ชุดการทดลองที่ 2 เลี้ยงที่อัตราความหนาแนน 400 ตัวตอตารางเมตร (ปลอยหอย 576 ตัวตอกระชัง)
ชุดการทดลองที่ 3 เลี้ยงที่อัตราความหนาแนน 500 ตัวตอตารางเมตร (ปลอยหอย 720 ตัวตอกระชัง)
ชุดการทดลองที่ 4 เลี้ยงที่อัตราความหนาแนน 600 ตัวตอตารางเมตร (ปลอยหอย 864 ตัวตอกระชัง)

4. อาหารที่ใชเลี้ยงหอยหวาน
ในการทดลองเลี้ยงหอยหวานใหเนื้อปลาขางเหลือง (Caranx leptolepis Cur. & Val.) เปนอาหาร โดยนําปลามา
ลางใหสะอาดแลวแลเอาเฉพาะเนื้อไปใชเปนอาหารเทานั้น ในอัตราวันละ 5 %ของน้ําหนักตัว
5. การจัดการ
มีเครื่องสูบน้ําแบบทอพญานาคขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 นิ้ว มอเตอรขนาด 7 แรงมา จํานวน 1 ตัว สูบน้ําจาก
แมน้ําจันทบุรีเขาบอเลี้ยงหอยในชวงที่น้ําขึ้นวันละ 2-3 ชั่วโมง เปนการรักษาระดับน้ําใหคงที่ระดับน้ํา 1.5-1.8 เมตร
ภายในบอดิน มีเครื่องตีน้ําชนิด 2 แขน มอเตอรขนาด 2 แรงมา จํานวน 2 ตัว จะเปดภายหลังจากใหอาหารและตอนเชา
ประมาณ 1-2 ชั่วโมง เพื่อใหน้ําในบอมีการไหลเวียนผานทุกกระชัง และมีการทําความสะอาดทรายทุก ๆ 7 วัน โดยใช
เครื่องสูบน้ําแบบจุมสูบน้ําในบอดินมาฉีดทรายบริเวณกนกระชัง และตรวจสอบการเจริญเติบโตดวยวิธีการวัดขนาดและ
ชั่งน้ําหนัก ทุก ๆ 4 สัปดาห
6. การวิเคราะหคุณภาพน้ํา
ทําการเก็บตัวอยางน้ําทุก ๆ 7 วัน โดยวัดดรรชนีคุณภาพน้ํา ดังนี้
ความเค็มน้ํา โดยใชเครื่องมือ Reflecto salinometer ยี่หอ ATAGO รุน S-Mill 100
ความเปนกรด-ดางของน้ํา (pH) โดยใชเครื่องมือ pH meter ยี่หอ WTW รุน pH 537
ออกซิเจนที่ละลายน้ํา โดยใชเครื่องมือ DO meter ยี่หอ YSI รุน Model 52 B
อัลคาไลน (Alkalinity) โดยวิธี Potentiometer titration to pre-selection pH (APHA, AWWA-WPCF, 1980)
แอมโมเนีย (NH4+) โดยวิธี Koroleff’ s indophenol blue method (APHA, AWWA-WPCF, 1980)
ไนไตรท (NO2-) โดยวิธี Shinn’ s method (Grassoff, 1976)
ไนเตรท (NO3-) โดยวิธี Cadmium reduction (Stickland and Parson, 1972)
7. การเก็บขอมูลและวิเคราะหขอมูล
7.1 การเก็บขอมูล
ทําการสุมตัวอยางหอยหวานมาทุกกระชังในปริมาณ 30 ตัวตอกระชัง นํามาวัดขนาดและชั่งน้ําหนัก แลวบันทึก
ขอมูลไว ทุก 4 สัปดาห
7.2 การวิเคราะหขอมูล
7.2.1 การเจริญเติบโต (Growth) ทําการวัดความกวาง ความยาวของเปลือกหอย และน้ําหนักของหอยหวาน
ตลอดการทดลอง
7.2.2 การคํานวณอัตราการรอดตาย (Survival Rate) ใชสูตร
Nt
× 100
S. R.

=
No

219


O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

S. R. = อัตราการรอดตาย (%)
Nt
= จํานวนของหอยหวานที่เหลือรอด ณ เวลา t
No
=
จํานวนของหอยหวานที่เริ่มทดลอง
7.2.3 การคํานวณอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (Food Conversion Ratio หรือ FCR) ใชสูตร
น้ําหนักอาหารที่หอยหวานกินทั้งหมด
น้ําหนักหอยหวานที่เพิ่มขึ้น
7.2.4 การคํานวณผลผลิตและผลผลิตเพิ่ม โดยการนําหอยที่เหลือทุกตัวเมื่อสิ้นสุดการทดลองมาชั่งน้ําหนัก
รวมเปนผลผลิต แลวนําน้ําหนักหอยทุกตัวมาหักออกจะเปนน้ําหนักที่เพิ่มขึ้น
ผลผลิต
=
น้ําหนักรวมสุดทายของหอยทุกตัว (Wt)
ผลผลิตเพิ่ม =
Wt - W0
W0
=
น้ําหนักรวมเริ่มตนของหอยทุกตัว
Wt

=
น้ําหนักรวมสุดทายของหอยทุกตัว
7.2.5 ทําการวิเคราะหขอมูลจากผลการทดลองเกี่ยวกับ ความยาวและความกวางเปลือก น้ําหนักตัว อัตรา
การรอดตาย อัตราการแลกเนื้อ (FCR) และผลผลิตรวมของหอยหวานแตละกระชัง นํามาวิเคราะหผลทางสถิติ โดยใช
วิธีการทดสอบหาความแปรปรวน (Analysis of Variance) ของกลุมขอมูล ดวยวิธี F-Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %
(P=0.05) เพื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของแตละชุดการทดลอง หากพบวามีความแตกตางกันทางสถิติ จะใชวิธี Duncan’ s New
Multiple Range Test ที่ระดับความมั่นใจ 95% (P=0.05) ทั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบผลของคูทดลอง (จรัญ, 2523)
8. สถานที่และระยะเวลาที่ใชในการศึกษา
ดําเนินการทดลองในบอดินของศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงจันทบุรี ทําการทดลองใชเวลานาน 16 สัปดาห
(ประมาณ 4 เดือน) โดยเริ่มทดลองในเดือน มกราคม 2547 ไปจนถึง พฤษภาคม 2547
FCR

=

ผลการทดลอง
1. การเจริญเติบโต
จากการทดลองเลี้ ย งหอยหวาน ในกระชั ง ในบ อ ดิ น โดยใช พั น ธุ ห อยที่ มี ค วามยาวเปลื อ กเฉลี่ย 1.60±0.02
เซนติเมตร ดวยความหนาแนน 300, 400, 500 และ 600 ตัวตอตารางเมตร พบวา เมื่อสิ้นสุดการทดลองหอยหวานที่เลี้ยงมี
การเจริญ เติ บ โต ดา นความยาวของเปลื อ กเฉลี่ย เป น 3.13±0.07, 3.02±0.04, 2.99±0.04 และ 2.77±0.08 เซนติ เ มตร
ตามลําดับ (ตารางที่ 1 และรูปที่ 1) เมื่อนําความยาวของเปลือกหอยหวานไปวิเคราะหผลทางสถิติพบวา ที่ทุกความ
หนาแนนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ทั้งหมด โดยหอยหวานที่เลี้ยงมีความยาวของเปลือกใน
สัปดาหที่ 4 ของการทดลองเปน 2.20±0.04, 2.26±0.03, 2.22±0.07 และ 2.10±0.04 เซนติเมตร พบวาที่ทุกความหนาแนน
ไมมีความแตกตางกัน (P>0.05) สวนในสัปดาหที่ 8 ของการทดลองความยาวเปลือกเพิ่มขึ้นเปน 2.72±0.12, 2.71±0.06,
2.67±0.04 และ 2.57±0.04 เซนติเมตร ซึ่งมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยที่ความหนาแนน 300
กับ 400 ตัวตอตารางเมตร ที่ความหนาแนน 400 กับ 500 ตัวตอตารางเมตร และ ที่ความหนาแนน 500 กับ 600 ตัวตอตาราง
เมตร ไมมีความแตกตางกัน (P>0.05) ที่เหลือนอกจากนี้มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทั้งหมด (P<0.05) ในสัปดาหที่
12 ของการทดลองความยาวเปลือกมีคาเปน 3.00±0.04, 2.93±0.12, 2.82±0.01 และ 2.71±0.06 เซนติเมตร ซึ่งที่ทุกความ
หนาแนนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)

220



O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

ตารางที่ 1 ความยาวของเปลือกหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดิน ที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปนเวลา 16 สัปดาห
(หนวย :- เซนติเมตร)
ระดับ
การทดลอง
ระยะเวลาในการเลี้ยง
ความหนาแนน
ซ้ําที่
เริ่มทดลอง สัปดาหที่ 4
สัปดาหที่ 8
สัปดาหที่ 12 สัปดาหที่ 16
1
1.60±0.20 2.17±0.23
2.76±0.26
3.04±0.25
3.05±0.33
300 ตัว/ตร.ม.
2
1.60±0.20 2.25±0.26
2.59±0.28
2.96±0.27
3.18±0.33
3
1.60±0.20 2.18±0.42
2.81±0.21

3.00±0.18
3.15±0.32
a
a
a
2.72±0.12
3.00±0.04
3.13±0.07a
เฉลี่ย
1.60
2.20±0.04
1
1.60±0.20 2.29±0.36
2.78±0.21
3.04±0.15
2.98±0.32
400 ตัว/ตร.ม.
2
1.60±0.20 2.24±0.26
2.69±0.20
2.81±0.23
3.05±0.24
3
1.60±0.20 2.25±0.27
2.66±0.22
2.95±0.28
3.04±0.30
a
ab
b

2.71±0.06
2.93±0.12
3.02±0.04b
เฉลี่ย
1.60
2.26±0.03
1
1.60±0.20 2.20±0.23
2.70±0.24
2.82±0.25
3.02±0.31
500 ตัว/ตร.ม.
2
1.60±0.20 2.17±0.30
2.69±0.25
2.81±0.23
3.00±0.25
3
1.60±0.20 2.30±0.29
2.63±0.23
2.82±0.25
2.95±0.27
a
bc
c
2.67±0.04
2.82±0.01
2.99±0.04c
เฉลี่ย
1.60

2.22±0.07
1
1.60±0.20 2.06±0.29
2.59±0.27
2.64±0.27
2.77±0.28
600 ตัว/ตร.ม.
2
1.60±0.20 2.11±0.23
2.52±0.24
2.73±0.29
2.85±0.28
3
1.60±0.20 2.13±0.29
2.60±0.29
2.75±0.31
2.70±0.31
2.57±0.04c
2.71±0.06d
2.77±0.08d
เฉลี่ย
1.60
2.10±0.04a
หมายเหตุ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ยกกําลังตางกันในแนวตั้ง แสดงวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)
3.2

ความยาวของเปลือกหอยหวาน (ซ.ม.)

3.0


2.8

2.6

2.4

ความหนาแนน
300 ตัว/ตร.ม.

2.2

400 ตัว/ตร.ม.
2.0

500 ตัว/ตร.ม.
600 ตัว/ตร.ม.

1.8

1.6
เริ่มตน

4 สัปดาห

8 สัปดาห

12 สัปดาห

16 สัปดาห


เวลาในการเลี้ยง

รูปที่ 1 ความยาวของเปลือกหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดิน ที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปนเวลา 16 สัปดาห
221


O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

ในดานความกวางของเปลือกเฉลี่ยจาก 1.08±0.13 มีการเจริญเติบโต เมื่อเสร็จสิ้นการทดลองเปน 2.07±0.01,
2.03±0.05, 1.94±0.01 และ 1.85±0.01 เซนติเมตร เมื่อนําความกวางของเปลือกหอยหวานไปวิเคราะหผลทางสถิติพบวา ที่
ทุกความหนาแนนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ทั้งหมด ตามลําดับ ในสัปดาหที่ 4 ความกวางของ
เปลือกเทากับ 1.46±0.02, 1.53±0.02, 1.45±0.06 และ 1.41±0.04 เซนติเมตร โดยนําผลไปวิเคราะหทางสถิติพบวาไมมีความ
แตกต า งกั น (P>0.05) ในสั ป ดาหที่ 8 ความกวา งเปลื อ กเพิ่ ม เป น 1.77±0.04, 1.75±0.02, 1.73±0.03 และ 1.68±0.04
เซนติเมตร ซึ่งมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยที่ความหนาแนน 300, 400 กับ 500 ตัวตอตาราง
เมตร และ ที่ความหนาแนน 500 กับ 600 ตัวตอตารางเมตร ไมมีความแตกตางกัน (P>0.05) ที่เหลือนอกจากนี้มีความ
แตกต างกัน อยางมีนัย สําคัญ ทั้ง หมด (P<0.05) ในสัปดาหที่ 12 ความกวางของเปลือกเท ากับ 1.95±0.03, 1.90±0.08,
1.82±0.03 และ1.77±0.02 เซนติเมตร และมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยที่ความหนาแนน 300
กับ 400 ตัวตอตารางเมตร ที่ความหนาแนน 400 กับ 500 ตัวตอตารางเมตร และ ที่ความหนาแนน 500 กับ 600 ตัวตอตาราง
เมตร ไมมีความแตกตางกัน (P>0.05) นอกจากนั้นมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทั้งหมด (P<0.05) และ (ตารางที่ 2
และรูปที่ 2)

ความกวางของเปลือกหอยหวาน (ซ.ม.)

2.2
2.0
1.8

ความหนาแนน


1.6

300 ตัว/ตร.ม.
1.4

400 ตัว/ตร.ม.
500 ตัว/ตร.ม.

1.2

600 ตัว/ตร.ม.

1.0
เริ่มตน

4 สัปดาห

8 สัปดาห

เวลาในการเลี้ยง

12 สัปดาห

16 สัปดาห

รูปที่ 2 ความกวางของเปลือกหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดิน ที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปนเวลา 16 สัปดาห

222



O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

ตารางที่ 2 ความกวางของเปลือกหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดิน ที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปนเวลา 16 สัปดาห
(หนวย :- เซนติเมตร)
ระดับ
การทดลอง
ระยะเวลาในการเลี้ยง
ความหนาแนน
300 ตัว/ตร.ม.

ซ้ําที่

สัปดาหที่ 12

สัปดาหที่ 16

1.44±0.15

1.80±0.17

1.97±0.13

2.08±0.21

2

1.08±0.13


1.46±0.19

1.72±0.15

1.91±0.17

2.07±0.15

3

1.08±0.13

1.47±0.14

1.78±0.13

1.97±0.19

2.07±0.16

1.08

1.46±0.02a

1.77±0.04a

1.95±0.03a

2.07±0.01a


1

1.08±0.13

1.55±0.18

1.77±0.13

1.96±0.15

2.03±0.16

2

1.08±0.13

1.52±0.13

1.73±0.13

1.81±0.13

1.98±0.11

3

1.08±0.13

1.52±0.18


1.74±0.17

1.93±0.16

2.07±0.18

1.08

1.53±0.02a

1.75±0.02a

1.90±0.08ab

2.03±0.05ab

1

1.08±0.13

1.45±0.14

1.73±0.15

1.79±0.15

1.93±0.21

2


1.08±0.13

1.50±0.21

1.75±0.17

1.85±0.14

1.95±0.14

3

1.08±0.13

1.39±0.17

1.70±0.14

1.81±0.15

1.95±0.15

1.08

1.45±0.06a

1.73±0.03ab

1.82±0.03bc


1.94±0.01b

1

1.08±0.13

1.39±0.18

1.71±0.15

1.76±0.16

1.86±0.21

2

1.08±0.13

1.39±0.15

1.64±0.15

1.76±0.16

1.85±0.16

3

1.08±0.13


1.47±0.16

1.69±0.16

1.80±0.16

1.84±0.16

1.08

1.41±0.04a

1.68±0.04b

1.77±0.02c

1.85±0.01c

เฉลี่ย
600 ตัว/ตร.ม.

สัปดาหที่ 8

1.08±0.13

เฉลี่ย
500 ตัว/ตร.ม.

สัปดาหที่ 4


1

เฉลี่ย
400 ตัว/ตร.ม.

เริ่มทดลอง

เฉลี่ย

หมายเหตุ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ยกกําลังตางกันในแนวตั้ง แสดงวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)
การเจริญเติบโตในดานน้ําหนักตัวเฉลี่ยโดยเริ่มจาก 1.86 กรัม เมื่อเสร็จการทดลองในสัปดาหที่ 16 ของหอย
หวานมีน้ําหนักเปน 7.81±0.38, 7.18±0.49, 6.45±0.33 และ 5.89±0.33 กรัม และเมื่อนําน้ําหนักตัวของหอยหวานไป
วิเคราะหผลทางสถิติพบวา ที่ทุกความหนาแนนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยในสัปดาหที่ 4
พบวาทุกความหนาแนนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ยกเวนที่ความหนาแนน 400 กับ 500 ตัวตอ
ตารางเมตร ซึ่งมีความแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญ (P>0.05) สัปดาหที่ 8 ที่ทุกความหนาแนนมีความแตกตางกันอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ยกเวนความหนาแนน 300 กับ 400 ตัวตอตารางเมตร ซึ่งมีความแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญ
(P>0.05) และสัปดาหที่ 12 มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ที่ความหนาแนน 300 กับ 400 ตัวตอ
ตารางเมตร และ ที่ความหนาแนน 500 กับ 600 ตัวตอตารางเมตร มีความแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (P>0.05)
(ตารางที่ 3 และรูปที่ 3)

223


O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

ตารางที่ 3 น้ํ า หนั ก ตั ว ของหอยหวานที่ เ ลี้ ย งในกระชั ง ในบ อ ดิ น ที่ ค วามหนาแน น 4 ระดั บ เป น เวลา 16 สั ป ดาห
(หนวย :- กรัม)

ระดับ
การทดลอง
ระยะเวลาในการเลี้ยง
ความหนาแนน
ซ้ําที่
เริ่มทดลอง สัปดาหที่ 4
สัปดาหที่ 8
สัปดาหที่ 12 สัปดาหที่ 16
1
1.86
2.55±0.80
4.75±1.21
7.39±1.24
8.09±1.71
300 ตัว/ตร.ม.
2
1.86
2.91±0.88
4.15±1.09
6.91±1.35
7.97±1.50
3
1.86
3.08±1.00
5.00±1.23
6.56±1.18
7.38±1.40
เฉลี่ย
1.86
2.85±0.27a

4.63±0.44a
6.95±0.42a
7.81±0.38a
1
1.86
3.68±1.02
5.05±0.94
6.94±0.87
6.91±1.56
400 ตัว/ตร.ม.
2
1.86
3.67±0.70
4.30±1.29
6.09±0.86
6.88±1.16
3
1.86
3.28±1.32
4.16±1.22
7.24±1.26
7.75±1.56
4.50±0.48a
6.76±0.60a
7.18±0.49b
เฉลี่ย
1.86
3.54±0.03b
1
1.86

3.42±0.83
3.81±1.12
6.33±1.21
6.73±1.47
500 ตัว/ตร.ม.
2
1.86
3.33±0.79
4.27±1.29
5.82±1.18
6.53±1.20
3
1.86
3.56±1.27
4.20±0.95
5.19±1.24
6.08±1.28
เฉลี่ย
1.86
3.44±0.12b
4.09±0.25b
5.78±0.57b
6.45±0.33c
1
1.86
2.37±0.69
3.67±1.14
5.57±1.08
5.89±1.46
600 ตัว/ตร.ม.

2
1.86
2.78±1.06
3.62±1.10
5.59±1.39
6.21±1.33
3
1.86
2.79±100
3.91±0.92
5.88±1.48
5.56±1.20
c
c
b
3.73±0.16
5.68±0.17
5.89±0.33d
เฉลี่ย
1.86
2.65±0.24
หมายเหตุ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ยกกําลังตางกันในแนวตั้ง แสดงวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)
8.0

น้ําหนักเฉลี่ยของหอยหวาน (ซ.ม.)

7.0
6.0
5.0


ความหนาแนน

4.0

300 ตัว/ตร.ม.

3.0

400 ตัว/ตร.ม.

2.0

600 ตัว/ตร.ม.

500 ตัว/ตร.ม.

1.0
เริ่มตน

4 สัปดาห

8 สัปดาห

ระยะเวลาเลี้ยง

12 สัปดาห

16 สัปดาห

รูปที่ 3 น้ําหนักตัวของหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดิน ที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปนเวลา 16 สัปดาห


224


O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

2. อัตราการรอดตาย
อัตราการรอดตายของหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดินที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปนระยะเวลา 16 สัปดาห
ปรากฏวาตลอดการเลี้ยงในสัปดาหที่ 4 8 และ 12 หอยหวานไมมีการตายเลย ยกเวนในสัปดาหที่ 16 มีจํานวนรอดตายของ
หอยหวานที่เลี้ยงเฉลี่ย 430.67±0.58, 574.33±1.15, 719.67±0.58 และ 863.33±0.58 ตัว คิดเปนอัตราการรอดตายได รอยละ
99.69±0.13, 99.71±0.20, 99.95±0.08 และ 99.92±0.07 ตามลําดับ เมื่อนํามาวิเคราะหผลทางสถิติ ปรากฏวาไมมีความ
แตกตางกันอยาง (P>0.05) ตารางที่ 4 และรูปที่ 4
ตารางที่ 4 จํานวนที่เหลือรอด และอัตราการรอดตายของหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดินที่ความนาแนน 4 ระดับ เปน
ระยะเวลา 16 สัปดาห (หนวย :- เปอรเซ็นต)
ความ การทดลอง
ระยะเวลาในการเลีย้ ง
ซ้ําที่ เริ่มทดลอง
หนาแนน
สัปดาหที่ 4
สัปดาหที่ 8
สัปดาหที่ 12
(ตัว/ตร.ม.)
จํานวน จํานวน อัตรารอด จํานวน อัตรารอด จํานวน อัตรารอด
1
432
432
100
432

100
432
100
300
2
432
432
100
432
100
432
100
3
432
432
100
432
100
432
100
เฉลี่ย
432
432
100
432
100
432
100
1
576

576
100
576
100
576
100
400
2
576
576
100
576
100
576
100
3
576
576
100
576
100
576
100
เฉลี่ย
576
576
100
576
100
576

100
1
720
720
100
720
100
720
100
500
2
720
720
100
720
100
720
100
3
720
720
100
720
100
720
100
เฉลี่ย
720
720
100

720
100
720
100
1
864
864
100
864
100
864
100
600
2
864
864
100
864
100
864
100
3
864
864
100
864
100
864
100
เฉลี่ย

864
864
100
864
100
864
100

สัปดาหที่ 16
จํานวน
อัตรารอด
431
99.77
430
99.54
431
99.77
430.67±0.58 99.69±0.13 a
575
99.83
575
99.83
573
99.48
574.33±1.15 99.71±0.20 a
720
100.00
720
100.00
719

99.86
719.67±0.58 99.95±0.08 a
863
99.88
863
99.88
864
100.00
863.33±0.58 99.92±0.07 a

หมายเหตุ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ยกกําลังเหมือนกันในแนวตั้ง แสดงวามีความแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ
(P<0.05)

อัตราการรอดตายของหอยหวาน (เปอรเซนต)

100.0

99.9

99.8

99.7

99.6

99.5

ความหนาแนน
300 ตัว/ตร.ม.
400 ตัว/ตร.ม.

500 ตัว/ตร.ม.
600 ตัว/ตร.ม.
เริ่มตน

4 สัปดาห

8 สัปดาห

12 สัปดาห

16 สัปดาห

ระยะเวลา

รูปที่ 4 อัตราการรอดตายของหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดินที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปนเวลา 16 สัปดาห
225


O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

3. อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (FCR)
ผลการศึกษาอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ หรือ อัตราการแลกเนื้อ (FCR) ของหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอ
ดินที่ความหนาแนน 300 400 500 และ 600 ตัวตอตารางเมตร เปนระยะเวลานาน 16 สัปดาห ปรากฏวา มีอัตราการแลกเนื้อ
เฉลี่ย เปน 2.82±0.20, 2.64±0.22, 2.78±0.19 และ 2.85±0.15 ตามลําดับ เมื่อนําผลมาวิเคราะหทางสถิติ พบวาอัตราการแลก
เนื้อมีความแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (P>0.05) (ตารางที่ 5 และรูปที่ 5)

อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ


ตารางที่ 5 อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (FCR) ของหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดิน ที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปน
เวลานาน 16 สัปดาห
การทดลอง
ความหนาแนน
ตัวชี้วัด
ซ้ําที่
300 ตัว/ตร.ม.
400 ตัว/ตร.ม.
500 ตัว/ตร.ม.
600 ตัว/ตร.ม
1
2.72
2.54
2.79
2.94
FCR
2
2.70
2.90
2.59
2.68
3
3.05
2.49
2.97
2.94
เฉลี่ย
2.82±0.20 a
2.64±0.22 a
2.78±0.19 a

2.85±0.15 a
หมายเหตุ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ยกกําลังเหมือนกันในแนวนอน แสดงวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
(P<0.05)

3.0
2.5
2.0
1.5
1.0
0.5
0.0
300 ตัว/ตร.ม.

400 ตัว/ตร.ม.

500 ตัว/ตร.ม.

600 ตัว/ตร.ม.

ความหนาแนน

รูปที่ 5 อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (FCR) ของหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดินที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปนเวลา
16 สัปดาห
4. ผลผลิตและผลผลิตเพิ่ม
ผลผลิตของหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดิน ที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปนเวลานาน 16 สัปดาห ไดผลผลิต
เฉลี่ย ดังนี้ 2.74±0.12, 3.49±0.18, 3.85±0.18 และ 4.33±0.14 กิโลกรัมตอกระชัง ตามลําดับ ซึ่งมีความแตกตางกันอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ที่ทุกความหนาแนน (ตารางที่ 6 และรูปที่ 6)

226



O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

ผลผลิตหอยหวาน (ก.ก.)

ตารางที่ 6 ผลผลิ ต ของหอยหวานที่ เ ลี้ ย งในกระชั ง ในบ อ ดิ น ที่ ค วามหนาแน น 4 ระดั บ เป น ระยะเวลา 16 สั ป ดาห
(หนวย :-กิโลกรัม)
การทดลอง
ความหนาแนน
ตัวชี้วัด
ซ้ําที่
300 ตัว/ตร.ม.
400 ตัว/ตร.ม.
500 ตัว/ตร.ม.
600 ตัว/ตร.ม
1
2.82
3.54
3.82
4.13
ผลผลิต
2
2.79
3.29
4.04
4.47
3
2.60

3.64
3.68
4.20
a
b
c
3.49±0.18
3.85±0.18
4.33±0.14d
เฉลี่ย
2.74±0.12
หมายเหตุ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ยกกําลังตางกันในแนวนอน แสดงวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
(P<0.05)

4.5
4.0
3.5
3.0
2.5
2.0
1.5
1.0
0.5
0.0
300 ตัว/ตร.ม.

400 ตัว/ตร.ม.

500 ตัว/ตร.ม.


600 ตัว/ตร.ม.

ความหนาแนน

รูปที่ 6 ผลผลิตของหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดินที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปนระยะเวลา 16 สัปดาห
ผลผลิตเพิ่มและมีผลผลิตที่เพิ่มขึ้นเปน 1.93±0.12, 2.42±0.18, 2.51±0.18 และ 2.66±0.18 กิโลกรัม ซึ่งมีความ
แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) โดย น้ําหนักเพิ่มที่ความหนาแนน 300 ตัวตอตารางเมตร กับความหนาแนน
อื่น ๆ มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) สวนที่ความหนาแนน 400 500 และ 600 ตัวตอตารางเมตร ไม
มีความแตกตางกัน (P>0.05) (ตารางที่ 7 และรูปที่ 7)
ตารางที่ 7 ผลผลิ ต เพิ่ ม ของหอยหวานที่ เ ลี้ ย งในกระชั ง ในบ อ ดิ น ที่ ค วามหนาแน น 4 ระดั บ เป น เวลา 16 สั ป ดาห
(หนวย :- กิโลกรัม)
การทดลอง
ความหนาแนน
ตัวชี้วัด
ซ้ําที่
300 ตัว/ตร.ม.
400 ตัว/ตร.ม.
500 ตัว/ตร.ม.
600 ตัว/ตร.ม
1
2.02
2.47
2.48
2.52
ผลผลิต
2
1.99
2.22
2.70
2.86

3
1.80
2.57
2.34
2.59
b
a
a
เฉลี่ย
1.93±0.12
2.42±0.18
2.51±0.18
2.66±0.18 a
หมายเหตุ ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ยกกําลังตางกันในแนวนอน แสดงวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
(P<0.05)

227


O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

ผลผลิตเพิ่มของหอยหวาน (ก.ก.)

3.0
2.5
2.0
1.5
1.0

0.5
0.0
300 ตัว/ตร.ม.

400 ตัว/ตร.ม.

500 ตัว/ตร.ม.

600 ตัว/ตร.ม.

ความหนาแนน

รูปที่ 7 ผลผลิตเพิ่มของหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดิน ที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปนเวลา 16 สัปดาห
5. คุณภาพน้ํา
คุณภาพน้ําในบอทดลอง มีความเค็มอยูในชวง 22-38 สวนในพัน เฉลี่ย 32.88±2.89 สวนในพันสวน อุณหภูมิน้ํา
อยูในชวง 27-36 องศาเซลเซียส เฉลี่ย 31.88±2.89 องศาเซลเซียส ความขุนใสของน้ํา อยูในชวง 40-140 เซนติเมตร เฉลี่ย
94.71±37.93 เซนติเมตร ปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา อยูในชวง 3.9-8.0 มิลลิกรัมตอลิตร เฉลี่ย 6.46±0.88 มิลลิกรัมตอลิตร
ความเปนกรด-ดางของน้ําอยูในชวง 8.0-7.2 เฉลี่ย 7.71±0.20 ความเปนดางของน้ํา อยูในชวง 43-98 มิลลิกรัมตอลิตร เฉลี่ย
82.35±12.79 มิ ล ลิ ก รั ม ต อ ลิ ต ร ปริ ม าณแอมโมเนี ย อยู ใ นช ว ง 0.0139-0.4766 มิ ล ลิ ก รั ม ต อ ลิ ต ร เฉลี่ ย 0.0910±0.1074
มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณไนไตรทอยูในชวง 0.0006-0.0078 มิลลิกรัมตอลิตร เฉลี่ย 0.0044±0.0021 มิลลิกรัมตอลิตร และ
ปริมาณฟอสเฟต อยูในชวง 0-0.0228 มิลลิกรัมตอลิตร เฉลี่ย 0.0046±0.0061 มิลลิกรัมตอลิตร (ตารางที่ 9 และรูปที่ 8)
ตารางที่ 9 คุณภาพน้ําในบอดินที่ใชเลี้ยงหอยหวานในกระชัง เปนระยะเวลา 16 สัปดาห
ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัดคุณภาพน้ํา
ความเค็ม

อุณหภูมิน้ํา ความขุนใส

DO


pH

Alkaline

แอมโมเนีย

ไนไตรท

ฟอสเฟต

(ม.ก/ลิตร)

(ม.ก/ลิตร)

(ม.ก/ลิตร)

(ม.ก/ลิตร)

(สวนในพัน)

(๐ซ)

(ซ.ม)

(ม.ก/ลิตร)

คาสูงสุด

38


36

140

8.0

8.0

98

0.4766

0.0078

0.0228

คาต่ําสุด

22

27

40

3.9

7.2

43


0.0139

0.0006

0

คาเฉลีย่

32.88±2.89 31.88±2.89 94.71±37.93

6.46±0.88 7.71±0.20 82.35±12.79 0.0910±0.1074 0.0044±0.0021 0.0046±0.0061

6. ตนทุนและผลตอบแทน
การเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอดินที่ความหนาแนน 4 ระดับ ๆ ละ 3 กระชัง เปนระยะเวลา 4 เดือน พบวามี
ตนทุนทั้งหมด คือ 6203.55, 6311.43, 6406.44 และ 6502.23 บาท แบงเปนคาลงทุน (ตนทุนคงที่) ทั้งหมด เปน 19,500
บาท แบงออกเปนชุดการทดลองละ 4,875 บาท คาเสื่อมราคาคิดโดยวิธีเสนตรงใหมูลคาซากเปนศูนยเมื่อหมดอายุการใช
งาน โดยกําหนดใหตนทุนคงที่มีอายุการใชงาน 3 ป เลี้ยงปละ 2 ครั้ง คาเสื่อมราคาเปน 812.5 บาท คาดําเนินการ (ตนทุน
ผันแปร) รวม เปน 1,328.55, 1,436.43, 1,531.44 และ 1,627.23 บาท ตามลําดับ เมื่อวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนของ
การเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอดิน พบวา ที่ราคาหอยตามขนาด 128.04, 139.28,155.04 และ 169.78 ตัวตอกิโลกรัม
ราคาจําหนาย 350, 325, 300 และ 275 บาทตอกิโลกรัม คิดเปนรายไดสุทธิ 2,877.00, 3,402.75, 3,465.00 และ 3,572.25
228


O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

บาท คิดเปนกําไร 735.95, 1,150.82, 1,121.06 และ 1,132.52 บาท คิดเปนกําไรตอหนวยน้ําหนัก เทากับ 89.53, 109.92,
97.06 และ 87.18 บาทตอกิโลกรัม (ตารางที่ 8)


8.0

7.5

7.5

7.0

7.0

6.5

6.5

6.0

6.0

5.5

5.5

5.0

5.0

4.5

4.5


ความเปนกรด-ดาง

4.0
3.5

3.5
1

2

3

4

5

6

7

8

สัปดาหที่

9

10

150


130

130

110

110

90

90

70

70

50

11

12

13

14

15

16


ก. ความเปนกรด-ดาง และปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา

50

ความเปนดาง
ความขุนใส

4.0

ปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา
เริ่ม

150

30

30
เริ่ม

1

2

3

4

5


6

7

8

สัปดาหที่

9

10

11

12

13

14

15

16

ข. ความเปนดางและความขุนใสของน้ํา
229

ความขุนใสของน้ํา (เซนติเมตร)

8.5


8.0

ความเปนดาง (มก./ลิตร)

8.5

ปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา (มก./ลิตร)

ความเปนกรดดาง

ตารางที่ 8 ตนทุนและผลตอบแทนของการเลี้ยงหอยหวาน ที่ 4 ความหนาแนน เปนเวลา 4 เดือน(รวม 3 กระชัง)
ความหนาแนน (ตัวตอตารางเมตร)
รายการ
300
400
500
600
1. คาใชจาย (ตนทุน)
1.1 คาลงทุน (ตนทุนคงที่) (บาท)
4,875
4,875
4,875
4,875
- คาสรางแพไมไผ 8.0×8.0 เมตร (บาท)
1,250
1,250
1,250
1,250
- คากระชังโครง PVC =1.2×1.2×0.5 เมตร : 3 กระชัง(บาท) 3,000

3,000
3,000
3,000
- คาอุปกรณฟารม : เครื่องสูบน้ําลางทรายพื้นกระชัง (บาท) 625
625
625
625
812.5
812.5
812.5
812.5
- คาเสื่อมราคา คงที่ อายุ 3 ป เลี้ยงปละ 2 ครั้ง (บาท)
1,328.55
1.2 คาดําเนินงาน (ตนทุนผันแปร)
1,436.43
1,531.44 1,627.23
- อัตราการปลอยกระชังละ (ตัว/กระชัง)
432
576
720
864
- อัตราการปลอยรุนละ (ตัว/3 กระชัง)
648
864
1080
1296
- คาพันธุหอยหวาน (ตัวละ 50 สต.) (บาท)
216
288
360

432
- ปริมาณอาหารที่หอยกิน (กิโลกรัม)
16.35
19.11
20.88
22.71
- คาอาหาร (ปลาขางเหลือง 13 บาท/กก.)
212.55
248.43
271.44
295.23
- คาปูนขาว (บาท)
100
100
100
100
- คาไฟฟาและน้ํามันเชื้อเพลิง (บาท)
300
300
300
300
- คาจางแรงงาน 1 คน (บาท)
500
500
500
500
รวมคาใชจายทั้งหมด (ตนทุนผันแปร+คาเสื่อมราคา)
2,141.05
2,251.93
2,343.94 2,439.73

2. รายรับ
2.1 ขนาดของหอย (ตัว/กิโลกรัม)
128.04
139.28
155.04
169.78
2.2 ผลผลิต (รวม 3 กระชัง) กิโลกรัม
8.22
10.47
11.55
12.99
2.3 ราคาผลผลิต (บาท/กิโลกรัม)
350
325
300
275
3,402.75
3,465.00 3,572.25
2.4 ผลตอบแทนจากการจําหนายหอยหวาน (บาท)
2,877.00
3. กําไร
3.1 กําไรสุทธิ (บาท)
735.95
1,150.82
1,121.06 1,132.52
3.2 กําไรสุทธิ (บาท/กิโลกรัม)
89.53
109.92
97.06
87.18



การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

38

36

36

34

34

32

32

30

30

28

28

26

26


0.025

24

ฟอสเฟต
0.020

24

อุณหภูมิน้ํา

22

ความเค็ม

20
1

2

3

4

5

6

7


8

สัปดาหที่

9

0.020

ไนไตรท

0.015

0.015

0.010

0.010

0.005

0.005

22

20
เริ่ม

0.025

10


11

12

13

14

15

0.000

16

0.000
เริ่ม

1

2

3

4

5

6


7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

สัปดาหที่

ค. อุณหภูมิ และความเค็มของน้ํา

ง. ปริมาณฟอสเฟตและปริมาณไนไตรทละลายน้ํา

0.50
0.45

ปริมาณแอมโมเนีย (มก./ลิตร)


0.40
0.35
0.30
0.25
0.20
0.15
0.10
0.05
0.00
เริ่ม

1

2

3

4

5

6

7

8

สัปดาหที่


9

10

11

12

13

14

15

16

จ. ปริมาณแอมโมเนียละลายน้ํา
รูปที่ 8 คุณภาพน้ําในบอดินที่เลี้ยงหอยหวานในกระชัง ที่ความหนาแนน 4 ระดับ เปนเวลา 16 สัปดาห
สรุปและวิจารณผล
1. การเจริญเติบโต
ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงใหเห็นวาการเจริญเติบโตของหอยหวานทั้งดานความยาวและความกวางของเปลือก ทั้ง
4 ระดับของชุดการทดลองมีความแตกตางกันในสัปดาหที่ 16 อยางชัดเจน โดยมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทั้ง 4
ระดับ (P <0.05) จากการสังเกตพบวาหอยที่เลี้ยงในกระชังในบอดินเปลือกมีลักษณะปอมกวาหอยที่เลี้ยงในน้ําไหลผาน
ตลอดเวลา สําหรับการเจริญเติบโตทางน้ําหนัก มีความคลายกันกับการเจริญเติบโตทางความยาวเปลือก โดยสัปดาหที่ 16
มีความแตกตางกันทางน้ําหนักอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P < 0.05) ทั้งนี้เนื่องจากอัตราความหนาแนนตอพื้นที่ มีผลตอ
การเจริญเติบโต และจากการตรวจสอบ พบวา พื้นทรายที่ใชเลี้ยงมีสีดํา โดยเฉพาะในชวงสัปดาหที่ 8 ขึ้นไป หากทําความ
สะอาดทรายไมดีและน้ําไมถายเททําใหมีผลตอการเจริญเติบโตได เพราะหอยหวานกินอาหารโดยปลอยน้ํายอยมีลักษณะ
คลายเมือกมายอยสลายอาหาร แลวดูดกลับเขาไปหลังจากนั้นจะคลายเมือกออก เมือกจะติดอยูที่เทาหอยหวาน จําเปน
จะตองเดินไถไปบนพื้นทรายเพื่อใหเมือกออก และพบวาจะมีเมือกเปนแผนใสๆ บนพื้นทรายมาก และจากของเสียที่หอย
ขับ ถ ายออกมา เป น สาเหตุ ที่ทําใหพื้น ทรายดํา เร็ว ถ าทําความสะอาดไมดี พ อทํา ใหมี ผลตอ การเจริ ญ เติบ โต ผลการ

เจริญเติบโตของการทดลองครั้งนี้ทั้ง 4 ระดับความหนาแนน มีคาใกลเคียงกับรายงานของนิลนาจและอนุตร (2541) และ

230

ปริมาณไนไตรท (มก./ลิตร)

40

38

ความเค็ม (สวนในพัน)

40

ปริมาณฟอสเฟต (มก./ลิตร)

อุณหภูมิน้ํา (องศาเซลเซียส)

O19


การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

O19

ธานินทร (2539) ที่เลี้ยงหอยหวานในระบบน้ําไหลผานตลอดและมีการถายน้ําทุกวันตลอดระยะเวลา 4 เดือนและผลการ
ทดลองเลี้ยงหอยหวานของนิพนธและลือชัย (2543) ที่ทดลองเลี้ยงหอยหวานในตะกราพลาสติก
2. อัตราการรอดตาย
อัตราการรอดตายของหอยหวานจากการทดลองทั้ง 4 ระดับ มีคาใกลเคียงกัน คือที่ความหนาแนน 300, 400, 500
และ 600 ตัวตอตารางเมตร มีอัตราการรอดตายเปน 99.69±0.13, 99.71±0.20, 99.95±0.08 และ 99.92±0.07 เปอรเซ็นต

ตามลําดับ และไมมีความแตกตางกัน (P > 0.05) ซึ่งสอดคลองกับการเลี้ยงหอยหวานในตะกราพลาสติกของลือชัยและ
เกียรติศักดิ์ (2547) ที่เลี้ยงในถังไฟเบอรกลาสกลมเสนผาศูนยกลาง 140 เซนติเมตร ชุดที่ 1 เลี้ยงที่อัตราความหนาแนนที่
300 ตัวตอตารางเมตรโดยไมใสตะกรา ชุดที่ 2 เลี้ยงที่อัตราความหนาแนนที่ 300 ตัวตอตารางเมตร ในตะกราพลาสติกพื้นที่
0.14 ตารางเมตร เลี้ยงหอย 42 ตัวตอตะกรา จํานวน 11 ใบ และชุดที่3 เลี้ยงที่มีอัตราความหนาแนนที่ 600 ตัวตอตารางเมตร
ในตะกราพลาสติกพื้นที่ 0.14 ตารางเมตร เลี้ยงหอย 42 ตัวตอตะกรา จํานวน 22 ใบ เทากับ 95.81±1.32, 93.79±3.14 และ
93.90±2.30 เปอรเซ็นต ตามลําดับ การทดลองเลี้ยงหอยหวานดวยเนื้อปลาและหอยแมลงภู ที่ความหนาแนน 500 ตัวตอ
ตารางเมตร ของนิพนธและลือชัย (2543) มีอัตราการรอดตายเฉลี่ยเทากับ 84.9, 83.6 เปอรเซ็นต การทดลองเลี้ยงหอยหวาน
ของธานินทร (2539) และนิตยสารสัตวน้ํา (2543) รายงานวา การใชเนื้อปลาขางเหลืองเลี้ยงหอยหวานมีอัตราการรอดตาย
สูงถึง 95 เปอรเซ็นต แตการทดลองในครั้งนี้ทั้ง 4 ระดับความหนาแนน มีอัตราการรอดตายสูงกวา
3. อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (FCR)
ผลการทดลองที่ความหนาแนน 300, 400, 500 และ600 ตัวตอตารางเมตร อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อมี
คาเฉลี่ย เทากับ 2.82±0.20, 2.64±0.22, 2.78±0.19 และ 2.85±0.15 ตามลําดับ และไมมีความแตกตางกัน (P > 0.05) ซึ่งผล
การทดลองครั้งนี้ไดคา FCR สูงวาการทดลองของนิพนธ และลือชัย (2543) ซึ่งใชเนื้อปลาเปนอาหาร และมีอัตราสวนการ
เปลี่ยนอาหารเปนเนื้อเทากับ 2.03 นิตยสารสัตวน้ํา (2543) รายงานวามี FCR เทากับ 2 และธานินทร (2539) ที่เลี้ยงลูกหอย
ดวยเนื้อปลาขางเหลืองมี FCR เทากับ 1.27 สวนผลการทดลองของลือชัย และเกียรติศักดิ์ (2547) ที่ไดทําการทดลองเลี้ยง
หอยหวานในถังไฟเบอรกลาสกลมเสนผาศูนยกลาง 140 เซนติเมตร ชุดที่ 1 เลี้ยงที่อัตราความหนาแนนที่ 300 ตัวตอตาราง
เมตรโดยไมใสตะกรา ชุดที่ 2 เลี้ยงที่อัตราความหนาแนนที่ 300 ตัวตอตารางเมตร ในตะกราพลาสติกพื้นที่ 0.14 ตาราง
เมตร เลี้ยงหอย 42 ตัวตอตะกรา จํานวน 11 ใบ และชุดที่3 เลี้ยงที่มีอัตราความหนาแนนที่ 600 ตัวตอตารางเมตร ในตะกรา
พลาสติกพื้นที่ 0.14 ตารางเมตร เลี้ยงหอย 42 ตัวตอตะกรา จํานวน 22 ใบ มีคา FCR เฉลี่ยเทากับ 2.96±0.26, 3.26±0.25
และ3.54±0.25 ตามลําดับ ซึ่งเปนผลที่สูงการการทดลองในครั้งนี้ เปนเพราะการเลี้ยงหอยหวานในตะกราพลาสติกมีพื้นที่
แคบกวา มีผลทําให FCR สูงกวาการเลี้ยงหอยหวานในถังที่ใสทราย ซึ่งมีลักษณะเดียวการเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอ
ดินที่มีพื้นที่เลี้ยงหอยมากกวาในตะกราพลาสติก
4. ผลผลิตและผลผลิตเพิ่ม
ผลผลิตรวมทั้ง 4 ชุดการทดลอง (ที่ระดับอัตราความหนาแนน 300, 400, 500, และ 600ตัว/ตารางเมตร) มีคาเฉลี่ย
2.74+0.12, 3.49+0.18, 3.85+0.18 และ4.33+0.14 กิโ ลกรัม ตามลําดั บ มีความแตกต างกันอยางมีนั ย สําคั ญ ทางสถิ ติ
(P < 0.05) ที่ทุกความหนาแนน ชุดทดลองที่มีอัตราความหนาแนนมากกวาผลผลิตจะสูงกวา เพราะจํานวนหอยมากกวา
ผลผลิตที่เพิ่มขึ้นของชุดทดลองที่ อัตราความหนาแนน 300, 400, 500, และ 600ตัว/ตารางเมตร มีคาเฉลี่ยเปน
1.93+0.12, 2.42+ 0.18, 2.51 + 0.18 และ 2.66+0.18 กิโลกรัมตามลําดับ ซึ่งมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
(P < 0.05) โดยน้ําหนักเพิ่มที่ความหนาแนน 300 ตัว/ตารางเมตร กับอัตราความหนาแนนอื่นๆ สวนความหนาแนน 400 ,
500 ,และ 600ตัวตอตารางเมตร ไมมีความแตกตางกัน (P > 0.05) และจะเห็นไดวาที่ความหนาแนนสูงกวาผลผลิตที่เพิ่มขึ้น

จะสูงตามไปดวย ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของลือชัยและเกียรติศักดิ์ (2547) ที่ไดทําการทดลองเลี้ยงหอยหวานใน
ถังไฟเบอร กลาสกลมดังกลาวมาแลวขางตน พบวาการทดลองในชุดที่ 3 มีผลผลิตรวมมากกวา ชุดทดลองที่ 1 และ 2
เนื่องจากมีจํานวนหอยหวานที่ปลอยลงเลี้ยงเปน 2 เทา ของอีก 2 ชุดการทดลอง
231


O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

5. คุณภาพน้ํา
คุณภาพน้ําในบอดินที่ใชเลี้ยงหอยหวานในกระชัง ตลอดระยะเวลา 16 สัปดาห มีคาความเค็มระหวาง 27 – 38 สวนในพัน
สวน เฉลี่ย 32.88+2.89 สวนในพันสวน ซึ่งนับมีคาความเค็มสูงกวาเกณฑปกติเมื่อเทียบกับการทดลองของ นิพนธและ
ลือชัย (2543) ที่ทําการทดลองเลี้ยงหอยหวานดวยเนื้อปลาและเนื้อหอยแมลงภู ในน้ําที่มีคาความเค็มระหวาง 21-27 สวน
ในพันสวน และผลการวิจัยของลือชัยและเกียรติศักดิ์ (2547) ที่เลี้ยงหอยหวานในตะกราพลาสติก ในน้ําที่มีคาความเค็ม
ระหวาง 23.33- 33.00 สวนในพันสวน สําหรับคาอุณหภูมิ ความขุนใส ปริมาณออกซิเจนละลายน้ําความเปนกรดดาง
ความเปนดาง ปริมาณแอมโมเนีย ปริมาณไนไตรท และปริมาณฟอสเฟต อยูในเกณฑปกติ
6. ตนทุนและผลตอบแทน
การเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอดิน ที่ความหนาแนน 4 ระดับ จํานวน 3 กระชัง มีตนทุนทั้งหมด คือ 6203.55,
6311.43, 6406.44 และ 6502.23 บาท เปนตนทุนคงที่ 4,875 บาท คิดเปนรอยละ 78.58, 77.24, 76.10 และ 74.97 ตนทุนผัน
แปร 1328.55, 1436.43, 1531.44 และ 1627.23 บาท คิดเปนรอยละ 21.42, 22.76, 23.90 และ 25.03 รายไดทั้งหมด 2877.00,
3402.75, 3465.00 และ 3572.25 บาท บาท คิดเปนกําไร 735.95, 1,150.82, 1,121.06 และ 1,132.52 บาท คิดเปนกําไรตอ
หนวยน้ําหนัก เทากับ 89.53, 109.92, 97.06 และ 87.18 บาทตอกิโลกรัม จากการศึกษาครั้งนี้พบวาการเลี้ยงหอยหวานที่
ความหนาแนน 400 ตัวตอตารางเมตรใหผลตอบแทนดีที่สุดซึ่งตนทุนและผลตอบแทนนี้ยังไมไดคิดคาขุดบอ คาปรับปรุง
บอ คาเชาที่ดิน คาเครื่องตีน้ํา เครื่องสูบน้ําแบบทอพญานาค ตลอดจนปริมาณอาหารที่ใหไมไดคิดคาการสูญเสียเนื่องจาก
เปนงานวิจัยจึงคิดเฉพาะปริมาณอาหารที่หอยกินเขาไปตามหลักวิชาการ
7. ขอเสนอแนะ
การเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอดินมีความเหมาะสมกับพื้นที่การเลี้ยงที่ใกลทะเล ที่มีพื้นดินเปนดินโคลน
อาจเลี้ยงผสมผสานกับการเลี้ยงหอยแครง ปลากะพงขาว และกุงทะเลได
จากการทดลองในครั้งนี้ พบวาการเลี้ยงหอยที่ความหนาแนน 300 ตัวตอตารางเมตร มีการเจริญเติบโตที่ดีกวา

สวนดานผลผลิตพบวาที่ความหนาแนน 600 ตัวตอตารางเมตรใหผลผลิตที่สูงกวา ในการเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอ
ดินเมื่อเริ่มปลอยหอยลงเลี้ยงควรปลอยหอยที่ความหนาแนนสูงกอน เมื่อเลี้ยงหอยไปประมาณ 2 เดือน จึงควรที่ทําการคัด
หอยที่มีขนาดใกลเคียงกันปลอยลงเลี้ยงในกระชังเดียวกัน ในอัตราความหนาแนน 400 ตัวตอตารางเมตร จะทําใหไดผล
ผลิตและผลตอบแทนดีที่สุด ดังนั้นการเลี้ยงหอยหวานในกระชังจึงมีความเปนไปได
เอกสารอางอิง
จรัญ จันทลักขณา. 2523. สถิติวิเคราะหและการวางแผนงานวิจัย. บริษัทวัฒนาพานิช จํากัด. 468 หนา.
ธานินทร สิงหะไกรวรรณ. 2539. การศึกษาชีววิทยาบางประการของหอยหวานในบอเลี้ยงเพื่อการผลิตพันธุสําหรับปลอย
ลงแหลงน้ําธรรมชาติ. เอกสารวิชาการฉบับที่ 57 ศูนยพัฒนาการประมงทะเลอาวไทยฝงตะวันออก กองประมง
ทะเล กรมประมง. 37 หนา.
นิพนธ ศิริพันธ และ ลือชัย ดรุณชู. 2543. การทดลองเลี้ยงหอยหวาน (Babylonia areolata Link, 1807). เอกสารวิชาการ
ฉบับที่ 52/2543 สถานีเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงจังหวัดชลบุรี กองเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง รวมกับสํานักวิชาการ
กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 29 หนา.
นิตยสารสัตวน้ํา. 2543. หอยหวานสัตวน้ําเศรษฐกิจตัวใหม. นิตยสารสัตวน้ํา 11 (125) : 122-125.
นิลนาจ ชัยธนาวิสุทธ และอนุตร กฤษณะพันธ. 2541. การวิจัยเพื่อศึกษาการเพาะเลี้ยงหอยหวาน (Babylonia areolata
Link, 1807) เชิงพาณิชย. รายงานการวิจัย สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. 38 หนา.

232


O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

ลือชัย ดรุณชู และเกียรติศักดิ์ เสนะวีณิน. 2547. การเลี้ยงหอยหวาน (Babylonia areolata Link, 1807) ในตะกราพลาสติก.
เอกสารวิชาการฉบับที่ 29/2547 ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงจันทบุรี สํานักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝง
กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 21 หนา.
APHA, AWWA and WPCF. 1980. Standard Methods for the Examination of Water and Wastwater. 15th Edition
American Public Health Association, Washington, D.C. 1,134 pp.
Grasshoff, K. 1976. Methods of Sea Water Analysis. Verlog Chemic, New York. 314 pp.
Strickland, J. D. H. and T. R. Parsons. 1972. A Practical Handbook of Seawater Analysis. Bullitin 167 (second edition).

Fisheries Research Board of Canada. Ottawa. 284 pp.
ตารางผนวกที่ 1 น้ํ า หนั ก อาหารที่ ห อยหวานกิ น ระหว า งการเลี้ ย งในกระชั ง ในบ อ ดิ น ที่ ค วามหนาแน น 4 ระดั บ
(หนวย :- กิโลกรัม)
การทดลองซ้ําที่
ความหนาแนน
น้ําหนักอาหารเฉลี่ย
(ตัวตอตารางเมตร)
ซ้ําที่ 1
ซ้ําที่ 2
ซ้ําที่ 3
300

5.485

5.372

5.479

5.45±0.06

400

6.282

6.426

6.40

6.37±0.08


500

7.078

6.933

6.991

6.96±0.07

600

7.408

7.675

7.632

7.57±0.14

ตารางผนวกที่ 2 น้ําหนักเริ่มทดลอง สิ้นสุด และน้ําหนักเพิ่มขึ้นของหอยหวานที่เลี้ยงในกระชังในบอดิน ที่ความหนาแนน
4 ระดับ (หนวย :- กิโลกรัม)
ความหนาแนน
(ตัวตอตารางเมตร)

การทดลองซ้ําที่
ซ้ําที่ 1

ซ้ําที่ 2


น.น. เพิ่มขึน้

ซ้ําที่ 3

เฉลี่ย

เริ่มตน

สิ้นสุด เพิ่มขึ้น

เริ่มตน

สิ้นสุด

เพิ่มขึ้น

เริ่มตน

สิ้นสุด เพิ่มขึ้น

300

0.80

2.82

2.02

0.80


2.79

1.99

0.80

2.60

1.80

1.93±0.12a

400

1.07

3.54

2.47

1.07

3.29

2.22

1.07

3.64


2.57

2.42±0.18b

500

1.34

3.82

2.48

1.34

4.04

2.70

1.34

3.68

2.34

2.51±0.18b

600

1.61


4.13

2.52

1.61

4.47

2.86

1.61

4.20

2.59

2.66±0.18b

233


O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

ตารางผนวกที่ 3 คุณภาพน้ําในบอดินที่ทําการทดลองเลี้ยงหอยหวานในกระชัง ที่ความหนาแนน 4 ระดับ
ตัวชี้วัดคุณภาพน้ํา
การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

สัปดาหที่ .


ความเค็ม

pH

Alkaline

แอมโมเนีย

ไนไตรท

ฟอสเฟต

ขุนใส

อุณหภูมิ

(ม.ก/ลิตร) (ม.ก/ลิตร)

(ม.ก/ลิตร)

(ม.ก/ลิตร)

(ม.ก/ลิตร)

(ซ.ม)

(๐C)

เริ่มทดลอง .


27

7.67

3.9

88

0.1218

0.0071

0.0000

110

28

สัปดาหที่ 1 .

30

7.34

5.8

76

0.0187


0.0041

0.0004

80

31

สัปดาหที่ 2 .

33

7.73

7.2

79

0.1011

0.0038

0.0013

130

27

สัปดาหที่ 3 .


33

7.69

7.3

86

0.0671

0.0028

0.0005

140

27

สัปดาหที่ 4 .

34

7.74

6.5

89

0.1527


0.0032

0.0006

130

32

สัปดาหที่ 5 .

35

7.70

6.5

95

0.0896

0.0047

0.0026

140

33

สัปดาหที่ 6 .


35

7.78

7.2

80

0.0542

0.0027

0.0029

120

32

สัปดาหที่ 7 .

35

8.01

6.5

80

0.0870


0.0025

0.0024

120

32

สัปดาหที่ 8 .

35

7.88

6.4

81

0.0952

0.0020

0.0025

130

33

สัปดาหที่ 9 .


36

7.89

6.5

82

0.0508

0.0038

0.0014

130

34

สัปดาหที่ 10

37

7.87

6.5

82

0.0208


0.0036

0.0044

70

34

สัปดาหที่ 11

38

7.91

6.9

87

0.0417

0.0006

0.0102

60

35

สัปดาหที่ 12


35

7.67

5.4

98

0.0139

0.0057

0.0056

50

32

234

O19

(สวนในพัน)

DO

234



O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

235

ตารางผนวกที่ 3 (ตอ)
สัปดาหที่ .

ความเค็ม

pH

(สวนในพัน)

DO

Alkaline

แอมโมเนีย

ไนไตรท

ฟอสเฟต

ขุนใส

อุณหภูมิ

(ม.ก/ลิตร)


(ม.ก/ลิตร)

(ม.ก/ลิตร)

(ม.ก/ลิตร)

(ม.ก/ลิตร)

(ซ.ม)

(๐C)

สัปดาหที่ 13

35

7.66

6.5

92

0.0242

0.0064

0.0029

60


36

สัปดาหที่ 14

32

7.70

6.5

95

0.0250

0.0074

0.0030

60

36

สัปดาหที่ 15

27

7.58

6.3


67

0.1067

0.0071

0.0151

40

28

สัปดาหที่ 16

22

7.20

8.0

43

0.4766

0.0078

0.0228

40


32

คาสูงสุด

38

8.0

8.0

98

0.4766

0.0078

0.0228

36

140

คาตําสุด

22

7.2

3.9


43

0.0139

0.0006

0

27

40

คาเฉลี่ย

32.88±2.89 7.71±0.20

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

ตัวชี้วัดคุณภาพน้ํา

6.46±0.88 82.35±12.79 0.0910±0.1074 0.0044±0.0021 0.0046±0.0061 31.88±2.89 94.71±37.93

ตารางผนวกที่ 4 ผลผลิต รายได ตนทุนทั้งหมด กําไร และกําไรตอน้ําหนัก ของการเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอดิน (รวม 3 กระชัง) เปนเวลา 4 เดือน
ความหนาแนน (ตัว/ตร.ม.)

ผลผลิต (ก.ก.)

ราคา (บาท)


รายไดทั้งหมด(บาท)

ตนทุนทั้งหมด (บาท)

กําไร (บาท)

กําไร/น้ําหนัก (บาท)

300

8.22

350

2877.00

2141.05

735.95

89.53

400

10.47

325

3402.75


2251.93

1150.82

109.92

500

11.55

300

3465.00

2343.94

1121.06

97.06

600

12.99

275

3572.25

2439.73


1132.52

87.18
O19
235


O19

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548

ตารางผนวกที่ 5 รายละเอียดของตนทุนผันแปร คาพันธุหอย คาอาหาร (ปลาขางเหลือง) คาจางแรงงาน คาไฟฟาและน้ํามัน
เชื้อเพลิง และคาปูนขาวใชปรับคุณภาพน้ํา ในการเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอดิน (รวม 3 กระชัง) เปนเวลา 4 เดือน
ความหนาแนน
คาพันธหอย
คาอาหาร
คาจางแรงงาน
คาไฟฟาและ
คาปูนขาว
น้ํามันเชื้อเพลิง
ตัว/ตร.ม.
บาท รอยละ บาท รอยละ บาท รอยละ บาท รอยละ บาท รอยละ
300
216 16.26 212.55 16.00 500 37.64 300 22.58 100
7.53
400
288 20.05 248.43 17.29 500 34.81 300 20.89 100
6.96
500
360 23.51 271.44 17.72 500 32.65 300 19.59 100

6.53
600
432 26.55 295.23 18.14 500 30.73 300 18.44 100
6.15

236



×